เมื่อวันที่ 10 มีนาคม นายดำรงค์ พิเดช อดีตอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ในฐานะหัวหน้าพรรคทวงคืนผืนป่าประเทศไทย กล่าวถึงกรณีช้างแม่ลูกอ่อนถูกฆ่าที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ว่า การฆ่าช้างดังกล่าวชัดเจนว่าเป็นการฆ่าแม่เพื่อเอาลูกช้าง เพื่อเอาไปขายถือว่าเหี้ยมโหดอำมหิตมาก ที่สำคัญ
...
ข่าวโลกสีเขียว
ไซเตสปรับสถานะเต่าและตะพาบหลายชนิด

11 มี.ค. 2556
เมื่อวันที่ 11 ม.ค. ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ในการประชุมสมัยสามัญภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส) ครั้งที่ 16 นายวิมล จันทรโรชัย อธิบดีกรมประมง แถลงผลการยื่นข้อเสนอปรับบัญชีเต่าและตะพาบว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาเสนอเต่าคองู ที่บรรจุไว้ใน
...
ไซเตสโหวต ฉลามหัวค้อน กระเบนราหู ได้เข้าบัญชีที่ 2

11 มี.ค. 2556
วันที่ 11 มีนาคม ด.ญ.ณณิชา เศรษฐพรพงศ์ อายุ 12 ปี และ ด.ช.ภวินท์ เสธฐภักดี อายุ 10 ปี ตัวแทนนักอนุรักษ์รุ่นใหม่และทูตเยาวชนโครงการ Fin Free Thailand ได้เดินทางมาที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งมีการประชุมภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพันธุ์พืชที่ใกล้สูญพันธุ์(ไซเตส) เพื่อยื่นหนังสือถึง นายวิมล จันทโรทัย อธิบดีกรมประมง เพื่อขอให้ประเทศไทยสนับสนุนข้อเสนอ
...
จระเข้ไทยอดส่งออก แพ้โหวตไซเตส อยู่บัญชี 1 ต่อไป

11 มี.ค. 2556
จระเข้ไทยไปไม่ถึงฝั่งฝัน ยุโรป-อเมริกา ออกโรงค้านหัวชนฝา รองอธิบดีอุทยานฯระบุ เรื่องของผลประโยชน์ทางการค้าทุกประเทศต้องปกป้องตัวเอง ยันไทยดูแลจระเข้ในธรรมชาติดีที่สุดแล้ว วันที่ 7 มีนาคม ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ในงานประชุมภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์
...
ไม้กฤษณาไทยผ่านไซเตสฉลุย พร้อมส่งออก หมีขาวขั้วโลกเศร้า แพ้โหวต ยังล่ากันได้

8 มี.ค. 2556
การประชุมภาคีอนุสัญญา ว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (ไซเตส) ครั้งที่ 16 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในวันที่ 5 เข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ มีเรื่องที่น่ายินดีสำหรับประเทศไทยอีกเรื่อง ว่าด้วยเรื่องที่กรมวิชาการเกษตรประเทศไทย ร่วมกับ ประเทศคูเวตและจีน เสนอให้มีการเปลี่ยนคำนิยามเรื่องการ
...
ห้วยขาแข้งอุดมสมบูรณ์สุดขีด เสือล้นไปป่าข้างเคียง

27 ธ.ค. 2555
ห้วยขาแข้งอุดมสมบูรณ์สุดขีด เสือล้นป่าคาดมีมากถึง 90 ตัว ต้องไปอาศัยป่าข้างๆ ผู้เชี่ยวชาญเสือเป็นปลื้มปี 55 พบเสือโคร่งป่าแม่วงก์ 10 ตัว ป่าคลองลาน 4 ตัว ทั้งๆที่ก่อนหน้านี้ไม่เคยเจอมาก่อน คาดออกจากห้วยขาแข้ง
...
เขาใหญ่เอาจริง จับปรับแก๊งค์ซิ่งและจัดระเบียบนักวิจัย

15 ก.พ. 2555
“อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่” เฉียบ ห้ามนักบิดซิ่งส่งเสียงดังบนเขาใหญ่ เจอจับปรับส่งดำเนินคดี พร้อมจัดระเบียบนักวิจัยจะเข้าป่าต้องขออนุญาต หวังแก้ปัญหาตัดไม้หอม-ยาเสพย์ติด-อาชญากรรม แฉคณะนักวิจัยผูกขาดบ้านพักปิดทางนักวิจัย
...
กรมอุทยานเตรียมสำรวจดีเอ็นเอจากขี้ช้าง

14 ก.พ. 2555
กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ได้เชิญนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญเรื่องช้าง มาทำความเข้าใจแนวทางการศึกษาดีเอ็นเอช้างบ้านและช้างป่า โดยเร็ว ๆ นี้กรมอุทยาน
...
ระวังจระเข้ ของแถมจากน้ำท่วม

สัตวแพทย์เตือนกลางคืนอย่าเดินเข้าพงหญ้า กองไม้น้ำท่วม เสี่ยงไอ้เข้จู่โจม
10 ต.ค. 2554วันที่ 10 ตุลาคม ที่กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ เป็นประธานการประชุมความร่วมมือระหว่างกรมอุทยานฯ กับคณะสัตวแพทย์ศาสตร์ 6 สถาบันและชมรม สัตวแพทย์สัตว์ป่า และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยเหลือประชาชนที่
...
กรมอุทยานฯ คุมเข้มจตุจักร สกัดซื้อ-ขายพืชสัตว์ผิดกฎหมาย

กรมอุทยานแห่งชาติเอาจริงจัดเจ้าหน้าที่ลาดตระเวนตลาดนัดจตุจักร เตือนคนซื้อด้วยเห็นจับ-ปรับทันทีโทษคุก 3 เดือนปรับ 3 หมื่น
2 ต.ค. 2554วันที่ 3 ตุลาคม นายดำรงค์ พิเดช อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) เปิดเผยว่า สำหรับนโบายการปราบปรามการค้าสัตว์ป่าของกรมอุทยานแห่งชาติตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปนั้น ในส่วนของต้นทางนอกจากจะให้เจ้าหน้าที่กวดขันเรื่องการ
...
ตำรวจสิ่งแวดล้อมฮานอยจับกุมรถแท็กซีที่กำลังลักลอบขนเสือโคร่งแช่แข็งและกระดูกเสือโคร่งไปยังฮานอย กระดูกทั้งหมดมีน้ำหนัก 11 กิโลกรัม คาดว่าชำแหละมาจากเสือโคร่งตัวเต็มวัยสองตัว ส่วนซากแช่แข็งเป็นเสือโคร่งวัยรุ่น น้ำหนักประมาณ 57 กิโลกรัม การจับกุมครั้งนี้เป็นการจับการขนย้ายอวัยวะเสือโคร่งเป็นครั้งที่ 3 ตั้งแต่ต้นปี
10 ส.ค. 52
นักวิทยาศาสตร์พบว่า มังกรโคโดโม (Varanus komodoensis ) ฆ่าเหยื่อด้วยพิษแบบเดียวกับพิษงู ไม่ใช่ฆ่าเหยื่อด้วยแบคทีเรียในน้ำลายดังที่เคยเชื่อกันมานานกว่า 20 ปี และยังพบว่าต่อมพิษของมังกรโคโดโมเป็นต่อมพิษที่ซับซ้อนที่สุดในบรรดาสัตว์เลี้อยคลานอีกด้วย
21 พ.ค. 51
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (สพภ.) ร่วมกับ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช (อส.) และธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จัดโครงการส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจจากทรัพยากรชีวภาพ (เลี้ยงไก่ฟ้า) โดยนำร่องด้วยไก่ฟ้า 5 ชนิด ได้แก่ ไก่ฟ้าพญาลอ ไก่ฟ้าหลังขาวหรือจันทรบูร ไก่ฟ้าหลังเทาแข้งแดง ไก่ฟ้าหน้าเขียว และไก่ฟ้าหางลายขวาง
21 ม.ค. 52
งานวิจัยภาคสนามของนักสำรวจจากเยอรมันที่สำรวจป่าประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเป็นเวลาห้าปี พบว่า โบโนโบ ซึ่งเป็นลิงรักสันติ บางครั้งก็ฆ่าและจับลิงกินเป็นอาหารด้วย ซึ่งต่างจากความเชื่อดั้งเดิมว่าโบโนโบไม่จับลิงด้วยกันกิน
23 ต.ค. 51
บัญชีแดงของไอยูซีเอ็นฉบับปี 2551 ได้ปรับสถานภาพของโลมาอิรวะดีหรือโลมาหัวบาตรครีบหลังจากเดิม "ข้อมูลไม่เพียงพอ" ไปเป็น "เสี่ยงสูญพันธุ์" โดยมีภัยคุกคามหลักคือการถูกจับโดยบังเอิญ การสร้างเขื่อน การตัดไม้ทำลายป่า และการทำเหมือง
20 ต.ค. 51
การทดลองครั้งหนึ่งเมื่อไม่นานมานี้พบว่า ลิงชิมแปนซีสามารถจำแนกเพื่อนของมันด้วยการมองที่ก้นเพียงอย่างเดียวได้ดีเท่ากับการจำแนกด้วยการมองใบหน้า
30 ก.ย. 51
เจนนี กอริลลาที่อายุมากที่สุดในแหล่งเพาะเลี้ยงตายลงแล้วที่สวนสัตว์ดัลลัส มีอายุรวม 55 ปี เจนนีเป็นกอริลลาพันธุ์ป่าต่ำตะวันตก เพิ่งฉลองวันเกิดปีที่ 55 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ที่ผ่านมา
7 ก.ย. 51
เคนเนท โรส จากมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ ได้ขุดพบกระดูกของกระต่ายที่อินเดีย โครงกระดูกนี้มีอายุถึง 53 ล้านปี เป็นซากกระต่ายที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในโลก
25 มี.ค. 51
สาธารณรัฐคองโก นักวิทยาศาสตร์สามารถถ่ายภาพลิงกอริลาตะวันตกในธรรมชาติผสมพันธุ์กันแบบหันหน้าเข้าหากันได้เป็นครั้งแรกในโลก ก่อนหน้านี้ทราบว่ามีเพียงคนและลิงโบโนโบเท่านั้นที่ผสมพันธุ์แบบหันหน้าเข้าหากัน เคยมีรายงานว่าลิงกอริลลาภูเขาบางครั้งก็หันหน้าเข้าหากันแต่ไม่เคยมีภาพถ่ายยืนยัน ส่วนกอริลลาตะวันตกก็เคยพบพฤติกรรมแบบนี้มาก่อนในกรงเลี้ยง แต่ไม่เคยพบในธรรมชาติจนกระทั้งในครั้งนี้
15 มี.ค. 51
ฮาโดรัม ชิริไฮ นักปักษีวิทยาชาวอิสราเอล สามารถถ่ายภาพนก Beck’s petrels (Pseudobulweria becki ) ได้ราว 30 ตัว ที่หมู่เกาะบิสมาร์ก เป็นการพบนกชนิดนี้เป็นครั้งแรกในรอบ 80 ปี ก่อนการพบครั้งนี้ เคยมีการพบเห็นเพียงสองครั้งเท่านั้นคือในปี 2471 และ 2472
11 มี.ค. 51
