กรณีนายพิสิษฐ์ ณ พัทลุง ประธานมูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีคำสั่งปลดนายสุรพล ดวงแข เลขาธิการมูลนิธิ ภายหลังถูกนายสุรพลตั้งคำถามเรื่องการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการส่งช้าง 8 เชือกไปประเทศออสเตรเลีย ท่ามกลางการคัดค้านของนักอนุรักษ์
...
ข่าวโลกสีเขียว
ครั้งแรกในโลก ภาพเคลื่อนไหวของกระซู่บอร์เนียว

12 พ.ค. 2550
กองทุนสัตว์ป่าโลกและกรมสัตว์ป่าของสาขาซาบาห์ประเทศมาเลเซีย แถลงข่าวร่วมกันเมื่อวันที่ 24 เมษายนว่า สามารถเก็บภาพพฤติกรรมในธรรมชาติของกระซู่บอร์เนียว สัตว์ที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งของโลกไว้เป็นครั้งแรกโดยกล้องวิดีโอ
...
เสือดาวรัสเซียยังเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์

22 เม.ย. 2550
สำรวจจำนวนประชากรเสือดาวรัสเซีย หรือเสือดาวอามูร์ ซึ่งถือเป็นสัตว์ตระกูลแมวที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากที่สุดในโลก พบว่าเหลืออยู่เพียง 25-34 ตัวที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติเท่านั้น จึงเป็นเรื่องที่น่าหวั่นวิตกถึงอนาคตความอยู่รอดของสัตว์ชนิดนี้
...
พบนกพงปากยาวครั้งที่สองของโลกในรอบ 139 ปี

1 เม.ย. 2550
นกพงปากยาว (Large-billed Reed Warbler; Acrocephalus orinus ) ได้ถูกค้นพบครั้งแรกที่ตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอินเดียเมื่อ 139 ปีที่ผ่านมามีเพียงตัวอย่างเดียวที่ถูกเก็บรักษาไว้ จนกระทั่งได้ถูกค้นพบอีกครั้งเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2549 โดยใช้ตาข่ายดักจับบริเวณพื้นที่โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่ง
...
สำรวจไหล่ทวีป หาเนินพุโคลน ในมหาสมุทรอินเดีย

1 เม.ย. 2550
เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2549 สื่อมวลชนเกือบทุกสื่อ พากันเสนอข่าวเรื่องการค้นพบ เนินพุโคลน (mud volcano) ที่กลางทะเลอันดามัน จ.ภูเก็ต ในโครงการศึกษาเสถียรภาพของชั้นตะกอนการเกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเลบริเวณขอบไหล ทวีปในทะเลอันดามัน ของ ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัย
...
พบเสือชนิดใหม่ในเกาะบอร์เนียวและสุมาตรา

นักวิทยาศาสตร์พันธุกรรมและกลุ่มอนุรักษ์ของกองทุนสัตว์ป่าโลกชี้ เสือลายเมฆบนเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียวเป็นเสือต่างชนิดกับเสือลายเมฆบนแผ่นดินใหญ่
15 มี.ค. 2550เสือลายเมฆ เป็นหนึ่งในเสือสามชนิดที่พบในประเทศไทย และเป็นหนึ่งในจำนวนเสือ 7 ชนิดทั่วโลกตามการจำแนกเดิม มีเขตกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครอบคลุมไปถึงเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว "จากการศึกษาพันธุกรรมของของเสือลายเมฆแสดงเด่นชัดว่าเสือลายเมฆที่อยู่ในเกาะบอร์เนียวกับสุมาตราเป็นเสือต่างชนิดกับเสือ
...
พบโลมาหายากในแม่น้ำแยงซีเกียง

สื่อมวลชนจีนได้รายงานว่า นักธุรกิจท้องถิ่นคนหนึ่งในเมืองถงหลิง มณฑลฮันฮุย ประเทศจีน ได้ถ่ายภาพของสัตว์สีขาวขนาดใหญ่ตัวหนึ่งได้ด้วยกล้องดิจิทัลเมื่อวันที่ 19 สิงหาคมที่ผ่านมา หลังจากภาพถ่ายนั้นได้ผ่านสายตาของศาสตราจารย์หวังติง แล้วก็ได้รับการยืนยันว่า นี่คือ โลมาแม่น้ำ
...
ตำรวจสิ่งแวดล้อมฮานอยจับกุมรถแท็กซีที่กำลังลักลอบขนเสือโคร่งแช่แข็งและกระดูกเสือโคร่งไปยังฮานอย กระดูกทั้งหมดมีน้ำหนัก 11 กิโลกรัม คาดว่าชำแหละมาจากเสือโคร่งตัวเต็มวัยสองตัว ส่วนซากแช่แข็งเป็นเสือโคร่งวัยรุ่น น้ำหนักประมาณ 57 กิโลกรัม การจับกุมครั้งนี้เป็นการจับการขนย้ายอวัยวะเสือโคร่งเป็นครั้งที่ 3 ตั้งแต่ต้นปี
10 ส.ค. 52
นักวิทยาศาสตร์พบว่า มังกรโคโดโม (Varanus komodoensis ) ฆ่าเหยื่อด้วยพิษแบบเดียวกับพิษงู ไม่ใช่ฆ่าเหยื่อด้วยแบคทีเรียในน้ำลายดังที่เคยเชื่อกันมานานกว่า 20 ปี และยังพบว่าต่อมพิษของมังกรโคโดโมเป็นต่อมพิษที่ซับซ้อนที่สุดในบรรดาสัตว์เลี้อยคลานอีกด้วย
21 พ.ค. 51
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (สพภ.) ร่วมกับ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช (อส.) และธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จัดโครงการส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจจากทรัพยากรชีวภาพ (เลี้ยงไก่ฟ้า) โดยนำร่องด้วยไก่ฟ้า 5 ชนิด ได้แก่ ไก่ฟ้าพญาลอ ไก่ฟ้าหลังขาวหรือจันทรบูร ไก่ฟ้าหลังเทาแข้งแดง ไก่ฟ้าหน้าเขียว และไก่ฟ้าหางลายขวาง
21 ม.ค. 52
งานวิจัยภาคสนามของนักสำรวจจากเยอรมันที่สำรวจป่าประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเป็นเวลาห้าปี พบว่า โบโนโบ ซึ่งเป็นลิงรักสันติ บางครั้งก็ฆ่าและจับลิงกินเป็นอาหารด้วย ซึ่งต่างจากความเชื่อดั้งเดิมว่าโบโนโบไม่จับลิงด้วยกันกิน
23 ต.ค. 51
บัญชีแดงของไอยูซีเอ็นฉบับปี 2551 ได้ปรับสถานภาพของโลมาอิรวะดีหรือโลมาหัวบาตรครีบหลังจากเดิม "ข้อมูลไม่เพียงพอ" ไปเป็น "เสี่ยงสูญพันธุ์" โดยมีภัยคุกคามหลักคือการถูกจับโดยบังเอิญ การสร้างเขื่อน การตัดไม้ทำลายป่า และการทำเหมือง
20 ต.ค. 51
การทดลองครั้งหนึ่งเมื่อไม่นานมานี้พบว่า ลิงชิมแปนซีสามารถจำแนกเพื่อนของมันด้วยการมองที่ก้นเพียงอย่างเดียวได้ดีเท่ากับการจำแนกด้วยการมองใบหน้า
30 ก.ย. 51
เจนนี กอริลลาที่อายุมากที่สุดในแหล่งเพาะเลี้ยงตายลงแล้วที่สวนสัตว์ดัลลัส มีอายุรวม 55 ปี เจนนีเป็นกอริลลาพันธุ์ป่าต่ำตะวันตก เพิ่งฉลองวันเกิดปีที่ 55 เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ที่ผ่านมา
7 ก.ย. 51
เคนเนท โรส จากมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ ได้ขุดพบกระดูกของกระต่ายที่อินเดีย โครงกระดูกนี้มีอายุถึง 53 ล้านปี เป็นซากกระต่ายที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในโลก
25 มี.ค. 51
สาธารณรัฐคองโก นักวิทยาศาสตร์สามารถถ่ายภาพลิงกอริลาตะวันตกในธรรมชาติผสมพันธุ์กันแบบหันหน้าเข้าหากันได้เป็นครั้งแรกในโลก ก่อนหน้านี้ทราบว่ามีเพียงคนและลิงโบโนโบเท่านั้นที่ผสมพันธุ์แบบหันหน้าเข้าหากัน เคยมีรายงานว่าลิงกอริลลาภูเขาบางครั้งก็หันหน้าเข้าหากันแต่ไม่เคยมีภาพถ่ายยืนยัน ส่วนกอริลลาตะวันตกก็เคยพบพฤติกรรมแบบนี้มาก่อนในกรงเลี้ยง แต่ไม่เคยพบในธรรมชาติจนกระทั้งในครั้งนี้
15 มี.ค. 51
ฮาโดรัม ชิริไฮ นักปักษีวิทยาชาวอิสราเอล สามารถถ่ายภาพนก Beck’s petrels (Pseudobulweria becki ) ได้ราว 30 ตัว ที่หมู่เกาะบิสมาร์ก เป็นการพบนกชนิดนี้เป็นครั้งแรกในรอบ 80 ปี ก่อนการพบครั้งนี้ เคยมีการพบเห็นเพียงสองครั้งเท่านั้นคือในปี 2471 และ 2472
11 มี.ค. 51
